Hydrocarbon | ส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียม, ส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียมไม่ว่าจะเป็นก๊าซธรรมชาติหรือน้ำมันดิบ คือ คาร์บอน (C) และ ไฮโดรเจน (H) ในรูปของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน (hydrocarbon) นอกจากนี้ก็มีสารอื่นๆที่เป็นส่วนประกอบของปิโตรเลียม เช่น กำมะถัน (S) ไนโตรเจน (N) และอื่นๆ, Example: สารที่นอกเหนือจากไฮโดรคาร์บอนถือเป็นสิ่งแปลกปลอมและไม่เป็นที่ต้องการ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของปิโตรเลียมนั้น อาจอยู่ในสภาพของก๊าซ ของเหลว หรือของแข็ง ที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ ขึ้นอยู่กับจำนวนและการจัดตัวของอะตอมของคาร์บอนในโมเลกุล โดยทั่วไปโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนที่มีคาร์บอนไม่เกิน 4 อะตอมจะมีสถานะเป็นก๊าซ ถ้ามีคาร์บอนระหว่าง 5-19 อะตอม จะมีสถานะเป็นของเหลว และถ้ามีคาร์บอนตั้งแต่ 20 อะตอมขึ้นไป จะมีสถานะเป็นของแข็ง [ปิโตรเลี่ยม] |
Element | ธาตุ , สารที่ประกอบด้วยอะตอมที่มีเลขเชิงอะตอมเดียวกัน และไม่สามารถแบ่งแยกเป็นสารอื่นได้ด้วยวิธีทางเคมี เช่น ไฮโดรเจน ตะกั่ว ยูเรเนียม [นิวเคลียร์] |
hi-end | คุณภาพระดับสูงสุด, เสียงที่ออกมาจากเครื่องเสียง เขียนว่า ไฮ เอ็นด์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
ICRU sphere | ทรงกลมไอซีอาร์ยู, ทรงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร ทำจากวัสดุที่มีการตอบสนองต่อรังสีเทียบเท่ากับเนื้อเยื่อมนุษย์ โดยมีความหนาแน่น 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และมีองค์ประกอบของออกซิเจนร้อยละ 76.2 คาร์บอนร้อยละ 11.1 ไฮโดรเจนร้อยละ 10.1 และไนโตรเจนร้อยละ 2.6 เป็นทรงกลมที่ใช้อ้างอิงสำหรับการหาค่าปริมาณรังสีสมมูล [นิวเคลียร์] |
Hydrogen | ไฮโดรเจน, ธาตุที่เบาที่สุดและเป็นธาตุลำดับที่ 1 ในตารางพีริออดิก ประกอบด้วยไอโซโทป 3 ชนิด โดย 2 ชนิด พบในธรรมชาติ ได้แก่ ไฮโดรเจนหรือไฮโดรเจนมวลเบาซึ่งมีเลขมวลเท่ากับ 1 และดิวเทอเรียมหรือไฮโดรเจนมวลหนักซึ่งมีเลขมวลเท่ากับ 2 ส่วนชนิดที่ 3 ได้แก่ ทริเทียม มีเลขมวลเท่ากับ 3 เป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีที่มนุษย์ผลิตขึ้น [นิวเคลียร์] |
คาร์โบไฮเดรต | ชื่อกลุ่มสารประกอบอินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ คาร์โบไฮเดรท [คำที่มักเขียนผิด] |
Aeromonas hydrophila | แอร์โรโมแนส ไฮโดรฟิลล่า [TU Subject Heading] |
Chloral Hydrate | คลอรอล ไฮเดรต [TU Subject Heading] |
Harlem Heights, Battle of, N.Y., 1776 | การรบที่ฮาร์เลม ไฮทส์, นิวยอร์ก, ค.ศ. 1776 [TU Subject Heading] |
In situ hybridization | อิน ซิตู ไฮบริไดเซซัน [TU Subject Heading] |
In situ hybridization, Fluorescence | อิน ซิตู ไฮบริไดเซซัน, ฟลูออเรสเซนซ์ [TU Subject Heading] |
Magnesium Hydroxide | แมกนีเซียม ไฮดรอกไซด์ [TU Subject Heading] |
Nucleic acid hybridization | นิวคลีอิกแอซิค ไฮบริดไดเซชั่น [TU Subject Heading] |
Polycyclic aromatic hydrocarbons | โพลีไซคลิก อะโรมาติก ไฮโดรคาร์บอน [TU Subject Heading] |
Protein hydrolysates | โปรตีน ไฮโดรไลเซท [TU Subject Heading] |
Range - height indicator (RHI) | เร้นจ์ - ไฮ้ท์ อินดิเคเตอร์ [อุตุนิยมวิทยา] |
carbohydrate | คาร์โบไฮเดรต, สารอาหารประเภทให้พลังงาน ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) และออกซิเจน (O) มีสูตรทั่วไปคือ (CH2O)n พบทั่วไปในพืชและสัตว์ เช่น แป้ง น้ำตาล เซลลูโลส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
tentacle | เทนทาเคิล, รยางค์ที่ยื่นยาวออกมาจากส่วนหัวหรือบริเวณปากของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด เช่น ไฮดรา เพื่อรับความรู้สึกหรือใช้จับอาหาร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hydrogen | ไฮโดรเจน, ธาตุชนิดหนึ่ง เลขอะตอม 1 สัญลักษณ์คือ H เป็นแก๊สที่มีความหนาแน่นน้อยที่สุด ติดไฟได้ดี จุดหลอมเหลว -259.14oC จุดเดือด -252.7oC ไฮโดรเจนมี 3 ไอโซโทป คือ โพรเทียม ดิวเทอเรียม และทริเทียม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
heptane | เฮปเทน, สารไฮโดรคาร์บอนพวกแอลเคน สูตรเคมี C7H16 เป็นของเหลวได้จากการกลั่นลำดับส่วนปิโตรเลียม ไฮโซเมอร์ปกติมีจุดเดือด 98.4oC และความถ่วงจำเพาะ 0.68 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
hydrolysis | การแยกสลายด้วยน้ำ, ไฮโดรลิซิส, ปฏิกิริยาระหว่างไอออนของเกลือบางชนิดกับน้ำได้สารละลายที่มีสมบัติเป็นกรดหรือเบส [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
antiseptic | ยาระงับเชื้อ, สารเคมีที่ใช้ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ใช้ภายนอกร่างกาย เช่น เอทานอล ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ยาแดง ยาล้างตาพวกกรดบอริก เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
gastrovascular cavity | ช่องแก๊สโทรวาสคิวลาร์, ช่องกลวงกลางลำตัวสัตว์ชั้นต่ำ เช่น ไฮดรา ช่องนี้ทำหน้าที่เป็นทั้งหลอดอาหารและทางลำเลียงสารต่าง ๆ ด้วย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Ions, Hydrated | ไออ็อนที่จับน้ำ, ไฮเดรทเตทไอร์ออน, ไอออนซึ่งมีโมเลกุลของน้ำล้อมรอบ [การแพทย์] |